1.) ไอออนของธาตุ X มีจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอีเล็กตรอน
เท่ากับ 9,10,10 ตามลำดีบ ธาตุ X มีสัญลักษณ์เป็นไปตามข้อใด
1.
2.
3.
4.
ตอบ 1. เพราะมีโปรตอน 9
แสดงว่าเลขข้างล่าง คือ 9 นิวตรอน 1o แสดงว่า เลขบน-เลขล่าง คือ 10
2.) สารบริสุทธ์ของธาตุ X ในข้อ 69 มีสูตรโมเลกุลตามข้อใด
1.F1
2.CI2
3.N2
4.O2
ตอบ
1 เมื่อจัดเรียงอิเล็กตนอนแล้วจะได้
2 7 คือ หมู่ 7 คาบ 2 นั้นคือ F ซึ่งอยู่ในรูปของ Diatomic molecule
3.) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกบสมบัติของธาตุ X ในข้อ 69
1. สาร X มีสถานะเป็นแก๊ส
2. ไอออนที่เสถียรของธาตุ X มีประจุ -1
3. ธาตุ X พบได้บางส่วนของร่างกายคน
4. ธาตุ X กับธาตุ Ca เกิดเป็นสารประกอบที่มีสูตรเป็น
CaX
ตอบ
4 เพราะ ข้อ 1 2 ถูก ฟลูออรีนอยู่ในสถานะแก๊ส ไอออนมีประจุ -1 ซึ่งเมื่อเกิดสารประกอบกับ
CA ซึ่งเป็นโลหะ
หมู่
2จะมีสูตรเป็น CAx2
4.) การทดสอบสาร ก สาร ข สาร ค และสาร ง ได้ผลดังนี้
สาร
ก สาร ข
สาร ค สาร ง ควรเป็นสารใดตามข้อใดตามลำดับ
1. แป้งข้าวโพด น้ำเชื่อม ใยไหม กลูโคส
2. แป้งผัดหน้า ฟรักโทส ใยสำลี น้ำตาลทราย
3. แป้งข้าวเจ้า น้ำตาลทราบ ใยบวบ ฟรักโทศ
4. แป้งสาลี แอสพาร์แทม ในแมงมุม กลูโคล
ตอบ
ก แป้ง ข น้ำตาลทราย ค เส้นใยพืช (ไหมเป็นเส้นใยสัตว์ ซึ่งถือเป็นเส้นใยโปรตีน)
ง น้ำตาลอะไรก็ได้ที่ไม่ใช้น้ำตาลทราย
5.) กำหนดโครงสร้างของกรดอะมิโน A,B และ C
ข้อความใดถูกต้อง
1. เพปไทด์ที่ประกอบด้วยกรดอมิโนทั้ง 3 ชนิด
ข้างต้นโดยไม่มีกรดที่ซ้ำกันมีทั้งหมด 3 ชนิด
2. เพปไทด์ที่เกิดจากกรด A และกรด B ทำปฏิกิริยากับ CuSO4 ในสภาวะเบสให้สารสีม่วง
3. เพปไทด์ที่เกิดจากกรด A กรด B และกรด C เป็น ไตรเพปไทด์ที่มีจำนวนพันธะเพปไทด์ 3
พันธะ
4. ในร่างกายมนุษย์จะไม่พบโปรตีนที่มีกรดอะมิโน
A และ B เป็นองค์ประกอบ
ตอบ ไม่มีคำตอบ
ข้อ 1 จะเปิด 6 ชนิด
2 การทดสอบโปรตีนทดสอบด้วย CuSO4 ในเบส
ให้สารสีน้ำเงินม่วงซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างทองแดงกับ
สารที่มีพันธะเพปไทด์ 2 พันธะขึ้นไป
6.) ไฮดรเจนเป็นแก๊สที่เบาที่สุด ใช้ทำให้บอลลูนลอยตัวขึ้นในอากาศได้
แต่ในทางปฏิบัติจะใช้แก๊สฮีเลียมซึ่งหนักกว่า เพราะเหตุผลหลักตามข้อใด
1. แก๊สไฮโดรเจนติดไฟได้ง่าย
2. แก๊สไฮโดรเจนมีราคาแพงกว่าฮีเลียม
3. ต้องในแก๊สไฮโดรเจนปริมาณมากกว่าการใช้ฮีเลียม
4. ฮีเลียมแยกได้จากธรรมชาติ
แต่แก๊สไฮโดรเจนต้องผ่านกระบวนการผลิต
ตอบ
1
7.) ข้อใดระบุชนิดของแก๊สและกรดที่เกิดจากการนำแก๊สนั้นไปละลายในน้ำได้ถูกต้อง
1. อีเทน - กรดน้ำส้ม
2. คลอนรีน - กรดเกลือ
3. ไนโตรเจน - กรดไนตริก
4. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ - กรดซัลฟิวริก
ตอบ
2 CI2+H2O----------->HCIO(กรดไฮโปคลอรัส)+CHI(กรดเกลือ/กรดไฮโดรคลอริก)
8.) เมื่อนำสาร A มาเผาในบรรยากาศออกซิเจน O2(g)
จะได้ไอน้ำ H2O(g) และแก๊สคาร์บอนไอออกไซด์
CO2(g)
1. แก๊สไฮโดรเจน
2. แก๊สโซฮอล์
3. แก๊สบิวแทน
4. แก๊สธรรมชาติ
ตอบ 1 เพราะ
จะเผาไหม้ได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำได้ต้องเป็นสารอินทรีย์ และเกิดการเผาไหม้แบบเผาไหม้สมบูรณ์
ปล.
ข้อ 2 แก๊สโซฮอล์
คือ เอทานอล + น้ำมันเบนซิน
ข้อ 4 แก๊สธรรมชาติ
หมายถึง แก๊สมีเทน
9.) สารละลาย X,Y
และ Z ต่างเป็นสารละลายใสที่ไม่มีสีเมื่อนำแต่ละชนิดที่มีควมเข้มข้นและปริมาณเท่ากัน
มาผสมกันที่อุณภูมิเป็น 25oC ได้ผลดังตาราง
การผสมสารละลาย
|
อุณภูมิหลังผสม
|
สิ่งที่สังเกตุเห็น
|
X
กับ Y
|
24
|
สารละลายสีฟ้า
|
X
กับ Z
|
25
|
ใส
ไม่มีสี
|
1. X กับ Y เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน
2. Y กับ Z เกิดสารละลายชนิดเดียวกัน
3. Y กับ Z ทำปฏิกิริยากันโดยไม่คายความร้อน
4. Y กับ Z เป็นสารละลายต่างชนิดที่ไม่ทำปฏิกิริยากัน
ตอบ
1 เพราะ
อุณหภูมิต่ำลงเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
10.)ธาตุ 3 ชนิดมีสัญลักษณ์ดังนี้
ข้อใดเป็นสูตรเคมีของสารประกอบฟลูออไรด์ของธาตุทั้งสามชนิดตามลำดับ
1. AF BF3 CF2
2. AF B2F3 CF2
3. AF2 B2F3 CF
4. AF2 Bf3 CF
ตอบ
4 เมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วจะได้ดังนี้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น